หมวดหมู่
PAP Knowledge (30)
- เช็กเลย! จุดสังเกตสำคัญ มั่นใจได้ท่อเหล็ก มอก.แน่นอน
- เปิดโลกท่อเหล็กแปซิฟิกไพพ์
สินค้า มอก.107-2566 มีอะไรบ้าง และแตกต่างกันอย่างไร? - เปรียบเทียบชัด! มอก.107-2561 และ มอก. 107- 2566 จุดแตกต่างที่ควรรู้ - ลดสเปกเหล็ก เสี่ยงอันตรายถึงชีวิต! - สร้างโรงจอดรถ ใช้เหล็กแบบไหน?
เลือกใช้ให้ถูก งบไม่บานปลาย - Checklist 3 จุดสำคัญ สำรวจบ้านเมื่อฝนมาเยือน - Eddy Current Test
เบื้องหลังความเพอร์เฟกต์ ของท่อเหล็กแปซิฟิกไพพ์ - ประหยัดเวลา ลดต้นทุน! ด้วยบริการแปรรูปท่อเหล็กครบวงจร Steel Solution Service - Did you Know? รู้ไหมฤดูร้อนนี้
เหมาะกับการสร้างบ้านดีที่สุด - วิธีการดูแลท่อเหล็กไม่ให้เกิดสนิม - ประเภทโครงสร้างหลังคา - คุณสมบัติของเหล็กที่ดี ต้องมีลักษณะอย่างไร - มอก. คืออะไร ท่อเหล็ก PACIFIC PIPE มีไหม - เจาะลึก ”เหล็กกัลวาไนซ์” กับ “เหล็กชุบซิงค์” มีความเหมือนและต่างกันอย่างไร - ก่อนซื้อเหล็ก ควรรู้อะไรบ้าง - เหล็ก เหมาะกับการใช้งานสิ่งก่อสร้างด้านไหนบ้าง - มาตรฐาน “ท่อเหล็กของแปซิฟิกไพพ์” - ความพิเศษ ของท่อเหล็กแปซิฟิกไพพ์ - กว่าจะมาเป็น เหล็ก 1 ต้น ต้องผลิตเหล็กอย่างไร - สร้างบ้านด้วยโครงสร้างเหล็กดีอย่างไร - โครงสร้างหลังคาที่ทำให้บ้านเย็นสบาย - โครงสร้างบ้านรับมือภัยธรรมชาติ - วิธีดูแลท่อเหล็กช่วงหน้าฝน - ท่อชุบสังกะสี VS ท่อชุบสี + การใช้งานที่แตกต่าง ของท่อ 2 แบบ - เลือกเหล็กกล่องอย่างไรให้เข้ากับงาน - สีของสนิมเหล็กบอกอะไรเรา - งานสถาปัตย์ กับโครงสร้างเหล็ก แข็งแรง ทนทาน สวยงามตามจินตนาการ - มาตรฐาน ISO สำคัญแค่ไหนในอุตสาหกรรมเหล็ก - 2 ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อคุณสมบัติท่อเหล็ก - Green Building กับการนำเหล็กมาเป็นโครงสร้างดีกว่าเก่าอย่างไร
สินค้า มอก.107-2566 มีอะไรบ้าง และแตกต่างกันอย่างไร? - เปรียบเทียบชัด! มอก.107-2561 และ มอก. 107- 2566 จุดแตกต่างที่ควรรู้ - ลดสเปกเหล็ก เสี่ยงอันตรายถึงชีวิต! - สร้างโรงจอดรถ ใช้เหล็กแบบไหน?
เลือกใช้ให้ถูก งบไม่บานปลาย - Checklist 3 จุดสำคัญ สำรวจบ้านเมื่อฝนมาเยือน - Eddy Current Test
เบื้องหลังความเพอร์เฟกต์ ของท่อเหล็กแปซิฟิกไพพ์ - ประหยัดเวลา ลดต้นทุน! ด้วยบริการแปรรูปท่อเหล็กครบวงจร Steel Solution Service - Did you Know? รู้ไหมฤดูร้อนนี้
เหมาะกับการสร้างบ้านดีที่สุด - วิธีการดูแลท่อเหล็กไม่ให้เกิดสนิม - ประเภทโครงสร้างหลังคา - คุณสมบัติของเหล็กที่ดี ต้องมีลักษณะอย่างไร - มอก. คืออะไร ท่อเหล็ก PACIFIC PIPE มีไหม - เจาะลึก ”เหล็กกัลวาไนซ์” กับ “เหล็กชุบซิงค์” มีความเหมือนและต่างกันอย่างไร - ก่อนซื้อเหล็ก ควรรู้อะไรบ้าง - เหล็ก เหมาะกับการใช้งานสิ่งก่อสร้างด้านไหนบ้าง - มาตรฐาน “ท่อเหล็กของแปซิฟิกไพพ์” - ความพิเศษ ของท่อเหล็กแปซิฟิกไพพ์ - กว่าจะมาเป็น เหล็ก 1 ต้น ต้องผลิตเหล็กอย่างไร - สร้างบ้านด้วยโครงสร้างเหล็กดีอย่างไร - โครงสร้างหลังคาที่ทำให้บ้านเย็นสบาย - โครงสร้างบ้านรับมือภัยธรรมชาติ - วิธีดูแลท่อเหล็กช่วงหน้าฝน - ท่อชุบสังกะสี VS ท่อชุบสี + การใช้งานที่แตกต่าง ของท่อ 2 แบบ - เลือกเหล็กกล่องอย่างไรให้เข้ากับงาน - สีของสนิมเหล็กบอกอะไรเรา - งานสถาปัตย์ กับโครงสร้างเหล็ก แข็งแรง ทนทาน สวยงามตามจินตนาการ - มาตรฐาน ISO สำคัญแค่ไหนในอุตสาหกรรมเหล็ก - 2 ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อคุณสมบัติท่อเหล็ก - Green Building กับการนำเหล็กมาเป็นโครงสร้างดีกว่าเก่าอย่างไร
กว่าจะมาเป็น เหล็ก 1 ต้น ต้องผลิตเหล็กอย่างไร
เหล็ก นับเป็นหนึ่งในวัสดุที่ถูกนำมาใช้มากที่สุดในโลกใบนี้ ไม่ว่าจะมองไปทางใดก็เห็นแต่เหล็กที่ถูกนำมาใช้เป็นองค์ประกอบหรือส่วนหนึ่งในงานสถาปัตยกรรม เช่น โครงสร้างเหล็ก ทางรถไฟ ดาดฟ้าหลังคาเหล็กโค้ง เหล่านี้ล้วนแล้วแต่ทำมาจากเหล็กทั้งสิ้น ทว่าหลายคนอาจเคยสงสัยว่าในกระบวนการผลิตเหล็กว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร บทความนี้มีมาฝากกัน
กระบวนการผลิตเหล็กเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่จะทำให้ได้ท่อเหล็กออกมา ซึ่งเหล็กเหล่านี้จะเป็นทนทานต่อสนิมหรือไม่ มาดูกันเลย
กระบวนการผลิตเหล็ก
ในกรรมวิธีการผลิตเหล็กจะสามารถทำได้หลากหลายขั้นตอน โดยเริ่มต้นจากการนำท่อเหล็กมาตรวจสอบความกว้าง ความหนา คุณสมบัติทางกล และส่วนประกอบทางเคมีของวัตถุดิบต่าง ๆ จากนั้นให้ซอยเหล็กม้วนให้ได้ความกว้างเท่าขนาดที่ต้องการผลิต
ถัดมานั้นให้นำไปเข้าเครื่องจักรเพื่อคลายเหล็กออก และตัดปลายเหล็กม้วนซอยให้เรียบร้อย จากนั้นให้เชื่อมต่อปลายเหล็กม้วนซอยแต่ละลูก แล้วดำเนินการสะสมเหล็กม้วนซอยแต่ละลูกเพื่อความต่อเนื่องในการทำท่อเหล็กโดยนำไปขึ้นรูปเหล็กม้วนซอยให้เป็นรูปทรงกลม
ต่อไปเป็นขั้นตอนการเหนี่ยวนำความร้อนระหว่างขอบเหล็กทั้งสองข้าง ซึ่งในกระบวนการนี้จะต้องทำให้ขอบเหล็กทั้งสองข้างของเหล็กร้อนและมีสีแดงเสียก่อนแล้วใช้ลูกรีดอัดแผ่นเหล็ก ให้เป็นตะเข็บติดกัน
สำหรับท่อเหล็กแบบท่อโครงสร้างจะทำการไสตะเข็บนอก หากเป็นท่องานระบบจะทำการไสตะเข็บนอกและใน จากนั้นทางแปซิฟิกไพพ์จะทำการตรวจสอบตะเข็บท่ออีกครั้ง ผ่านวิธีการ Eddy Current Testing การทดสอบด้วยวิธีกระแสไหลวนที่สามารถทำให้ท่อเหล็ก สมบูรณ์ได้อีกด้วย
ขั้นตอนต่อมาเป็นกระบวนการอบตะเข็บโดยจะนำท่อเหล็กมาอบตะเข็บเพื่อให้เนื้อบริเวณตะเข็บท่อและบริเวณรอบข้างมีเนื้อสมบูรณ์เป็นเนื้อเดียวกัน
หนึ่งในขั้นตอนที่ทางแปซิฟิกไพพ์พิถีพิถันตั้งใจเป็นพิเศษนั้นเห็นจะหนีไม่พ้นการตรวจสอบความสมบูรณ์ของสภาพเนื้อเหล็กอีกด้วย ทั้งในส่วนของท่องานและท่อระบบ
กรรมวิธีผลิตเหล็กขั้นต่อมานั้นให้ปรับเปลี่ยนขนาด ต่อมาให้ขึ้นรูปเหล็กตามรูปทรงที่ต้องการ แล้วจึงตัดท่อตามความยาวที่ต้องการ และลบความคมที่ปลายท่อโดยให้ทำมุม 30 40 60 90 อีกด้วย
ต่อมาจะทำการทดสอบความรั่วซึมของท่องานระบบอีกครั้ง แล้วจึงตรวจสอบคุณภาพของท่อให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนดไว้ จากนั้นจึงพิมพ์รายละเอียดของเหล็กที่ข้างท่อเหล็ก และบรรจุสินค้าเพื่อเข้าสู่ในกระบวนการขนส่งต่อไป
กว่าจะมาเป็นเหล็กสักหนึ่งเส้น นับได้ว่า เหล็ก เหล่านี้ต้องผ่านกระบวนการที่คัดมาตรฐานมาอย่างดีทั้งคุณสมบัติที่มีความเป็นเหล็กบริสุทธิ์ และขนาดที่เหมาะสมต่อการใช้งานในอาคารสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ทว่าเหล็กกลับไม่ทนต่อสนิม PACIFIC PIPE จึงมีบริการเคลือบผิวท่อเพื่อให้เหล็กเหล่านี้มีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น ด้วยเหตุนี้ เหล็ก ของแปซิฟิกไพพ์จึงมีคุณสมบัติและทนทานต่อการใช้งานแม้จะผ่านระยะเวลายาวไปเนิ่นนานก็ตาม